|
 |
อาชีพประชากร |
|
 |
|
ปัจจุบันประชากรส่วนใหญ่ของตำบลยางสูง
ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ได้แก่ การทำนา ทำไร่ |
|
 |
ภูมิประเทศ |
|
 |
|
ภูมิประเทศองค์การบริหารส่วนตำบลยางสูง
ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่มติดต่อแม่น้ำปิง เหมาะกับ
การทำการเกษตรกรรม เช่น ทำไร่
ทำนา และทำสวน |
|
|
|
 |
ภูมิอากาศ |
|
 |
|
|
มีสภาพอากาศที่อบอุ่นตลอดปี
อุณหภูมิเฉลี่ยตลอดปีประมาณ 27.3
องศาเซลเชียสอุณหภูมิสุงสุด เฉลี่ย 33.4
อากาศร้อนอบอ้าวที่สุด คือเดือนเมษายน
สำหรับเตือนที่หนาวที่สุดคือเดือนธันวาคม
สำหรับปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยต่อปีของจังหวัด
ประมาณ 1,301.5 มิลลิเมตร และมีฝนตกเฉลี่ย
ประมาณ 123 วันช่วงที่มีฝนตกจะอยู่ระหว่างเตือนพฤษภาคม
ถึงตุลาคมซึ่งในช่วงนี้ปริมาณน้ำฝน
เฉลี่ยของเดือนจะอยู่ระหว่าง 14.8.4 -272.7 มิลลิเมตร |
|
|
|
 |
สถาบันและองค์กรทางศาสนา |
|
 |
|
ประชาชนในพื้นที่นับถือศาสนาพุทธ |
|
 |
ขนบธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรม |
|
 |
|
ประเพณีที่สำคัญได้แก่ ประเพณีเข้าพรรษา ประเพณีรดน้ำดำหัวผู้ใหญ่ |
|
|
|
 |
การศึกษาในตำบล |
|
 |
|
|
องค์การบริหารส่วนตำบลยางสูง มีโรงเรียนระดับประถมศึกษาที่อยู่ในพื้นที่ จำนวน 5 แห่ง และศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จำนวน 1 แห่ง ดังนี้ |
|
โรงเรียนบ้านหัวเสลา หมู่ที่ 2 |
|
โรงเรียนวัดปรีชาราษฎร์บำรุง หมู่ที่ 3 |
|
โรงเรียนบ้านเกาะฝ้าย หมู่ที่ 4 |
|
โรงเรียนบ้านบึงเสือเต้น หมู่ที่ 5 |
|
โรงเรียนบ้านบึงหล่มสามัคคี หมู่ที่ 6 |
|
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลยางสง หมู่ที่ 4 |
|
|
 |
การสื่อสารในตำบล |
|
 |
|
|
|
|
|
|
ที่อ่านหนังสือพิมพ์ประจำหมู่บ้าน |
|
|
จำนวน |
8 |
แห่ง |
|
ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร
ประจำตำบล |
|
|
จำนวน |
1 |
แห่ง |
|
ศูนย์การเรียนรู้และถ่ายทอดวัฒนธรรม |
|
|
จำนวน |
1 |
แห่ง |
|
|
|
|
 |
การสาธารณสุขในตำบล |
|
 |
|
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลยางสูง
อัตราการมีและใช้ส้วมราดน้ำ ร้อยละ 100 |
|
 |
แหล่งน้ำ |
|
 |
|
แหล่งน้ำธรรมชาติ |
|
แม่น้ำปิง |
|
|
|
|
 |
ไฟฟ้าในตำบล |
|
 |
|
ประชาชนในตำบลยางสูงมีไฟฟ้าใช้ครบทุกครัวเรือน |
|
 |
ประปาในตำบล |
|
 |
|
ประชาชนในตำบลยางสูงมีน้ำประปาใช้
ครบทุกครัวเรือน
|
|
|
|
 |
ความปลอดภัยในตำบล |
|
 |
|
อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน |
|
 |
การคมนาคม |
|
 |
|
โดยมีทางหลวงหมายเลข 1084 (ขาณุวรลักษบุรี-กำแพงเพชร) เป็นเส้นทางในการคมนาคมที่สำคัญ |
|
|
|
 |
การพาณิชย์และกลุ่มอาชีพ |
|
 |
|
กลุ่มแม่บ้านเกษตรกร สินค้า OTOP หมู่ที่ 5 บ้านบึงเสือเต้น เช่น กล้วยตาก มะพร้าวเสวย กล้วยกวน กระยาสารท เป็นต้น
|
|
 |
ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภาษาถิ่น |
|
 |
|
|
ภาษาถิ่นเป็นภาษาไทย |
|
สินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึก มะพร้าวเสวย กล้วยฉาบ มันฉาบ เผือกฉาบ และกล้วยตากอาบน้ำผึ้ง |
|
|
|
|
 |
หน่วยธุรกิจในตำบล |
|
 |
|
|
|
|
|
|
|
บริการต้านห้องพัก มีโรงแรม/รีสอร์ท |
|
|
จำนวน |
1 |
แห่ง |
|
|
|